สมัครสมาชิก
Otsuka Official Store
Otsuka Official Store

ห้องสมุด

อัปเดต 19/04/2565

4 ขั้นตอน กระบวนการรักษามะเร็งด้วยรังสี

โรคมะเร็ง

เมื่อแพทย์ตัดสินใจใช้รังสีรักษา ในผู้ป่วยที่ทราบผลชิ้นเนื้อและระยะของโรคแล้ว แพทย์จะมีการพูดคุย วางแผนกับผู้ป่วยและญาติ ถึงขั้นตอนกระบวนการฉายรังสี

ดูรายละเอียด
อัปเดต 30/03/2565

เลือกกินอะไรดี…เมื่อมีภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบ

อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ เกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยที่รักษาด้วยเคมีบำบัดหรือการฉายแสง มักมีอาการปากแห้ง ช่องปากบวมแดง เกิดแผลในช่องปาก แสบร้อน และมีการรับรสที่เปลี่ยนแปลงไป อาจส่งผลต่อการรับประทานอาหารได้

ดูรายละเอียด
อัปเดต 30/08/2564

“ผัก ผลไม้” กับโพแทสเซียม ที่คนโรคไตต้องดูแล

โรคไต

ผู้ที่มีระดับโพแทสเซียมในเลือดสูง ควรหลีกเลี่ยงในการรับประทานผัก และผลไม้ที่มีโพแทสเซียมสูงด้วยเช่นกัน

ดูรายละเอียด
อัปเดต 12/07/2564

How to ทิ้ง!!! พฤติกรรมการกินที่ส่งผลต่อตับ

โรคตับ

พฤติกรรมการกินที่ควรหลีกเลี่ยงสำหรับผู้ป่วยโรคตับ งดอาหารรสเค็มจัด เพราะทำให้บวมและมีน้ำในช่องท้องเพิ่มมากขึ้น (ท้องมาน) งดการดื่มแอลกอฮอล์ เช่น เหล้า ไวน์ เบียร์ เป็นต้น หลีกเลี่ยงอาหารแปรรูป เช่น ไข่เค็ม กุนเชียง ปลาเค็ม ปลาแห้ง เต้าหู้ยี้ เป็นต้น

ดูรายละเอียด
อัปเดต 12/07/2564

เคล็ด(ไม่)ลับ ช่วยควบคุมระดับน้ำตาล

โรคเบาหวาน

เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ รับประทานให้ครบ 3 มื้อ เป็นเวลาสม่ำเสมอทุกวัน ไม่ควรงดมื้อใดมื้อหนึ่ง อีกทั้งเลือกใช้คาร์โบไฮเดรตที่มีค่าดัชนีน้ำตาลต่ำ รับประทานผักที่มีคารโบไฮเดรตต่ำให้มาก ทำให้รู้สึกอิ่มนาน ผักที่มีเส้นใยอาหารมากสามารถช่วยในเรื่องการลดน้ำตาลในเลือด และการขับถ่ายได้

ดูรายละเอียด
อัปเดต 12/07/2564

เทคนิคการรับมืออาการข้างเคียงจากโรคมะเร็ง (อาหารทางการแพทย์ สำหรับผู้ป่วยมะเร็ง)

โรคมะเร็ง

อาการข้างเคียงจากการรักษาโรคมะเร็งมีหลายประเภท โดยที่คำแนะนำด้านอาหารในการลดอาการข้างเคียงจากการรักษาโรคมะเร็งมีหลากหลายวิธี

ดูรายละเอียด
อัปเดต 21/06/2564

อาหารทางการแพทย์ ควรดื่ม “เสริม” หรือ “ทดแทน” มื้ออาหารดีนะ ?

สุขภาพทั่วไป โรคมะเร็ง โรคไต โรคเบาหวาน

ในรายที่มีปัญหาทุพโภชนาการ เสี่ยงต่อการขาดสารอาหาร ไม่ว่าจะมีแนวโน้มของน้ำหนักตัวลดลง หรือรับประทานข้าวได้ไม่เพียงพอ แนะนำให้ดื่ม “เสริม” โดย 1 แก้ว ให้พลังงานประมาณ 250 กิโลแคลอรี และสำหรับผู้ที่มีปัญหาด้านการเคี้ยว การกลืน ไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้ หรือผู้ที่ต้องใช้สายให้อาหาร ควรใช้อาหารทางการแพทย์ “ทดแทน” มื้ออาหารหลักในแต่ละมื้อ

ดูรายละเอียด
อัปเดต 21/06/2564

กินโปรตีนอย่างไร..เมื่อไตเสื่อม

โรคไต

ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 หรือค่าการกรองไตการทำงานของไตน้อยกว่า 60% แนะนำให้รับประทานอยู่ที่ 0.6 - 0.8 กรัม / น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม / วัน เน้นโปรตีนคุณภาพดีจากเนื้อสัตว์ : ปลา ไก่ไม่ติดหนัง หมูไม่ติดมัน ไข่ขาวสลับกับไข่ทั้งฟอง เต้าหู้ ผลิตภัณฑ์จากนม

ดูรายละเอียด