
4 ขั้นตอน กระบวนการรักษามะเร็งด้วยรังสี
เมื่อแพทย์ตัดสินใจใช้รังสีรักษา ในผู้ป่วยที่ทราบผลชิ้นเนื้อและระยะของโรคแล้ว แพทย์จะมีการพูดคุย วางแผนกับผู้ป่วยและญาติ ถึงขั้นตอนกระบวนการฉายรังสี
ดูรายละเอียดเมื่อแพทย์ตัดสินใจใช้รังสีรักษา ในผู้ป่วยที่ทราบผลชิ้นเนื้อและระยะของโรคแล้ว แพทย์จะมีการพูดคุย วางแผนกับผู้ป่วยและญาติ ถึงขั้นตอนกระบวนการฉายรังสี
ดูรายละเอียดอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ เกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยที่รักษาด้วยเคมีบำบัดหรือการฉายแสง มักมีอาการปากแห้ง ช่องปากบวมแดง เกิดแผลในช่องปาก แสบร้อน และมีการรับรสที่เปลี่ยนแปลงไป อาจส่งผลต่อการรับประทานอาหารได้
ดูรายละเอียดในภาวะเจ็บป่วย ร่างกายจะหลั่งสารอักเสบ ซึ่งส่งผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้เบื่ออาหาร อีกทั้งมีปัจจัยร่วมอื่นๆที่ทำให้ผู้ป่วยรับประทานได้น้อยลง เช่น การรับกลิ่นหรือรสผิดปกติ กระเพาะและลำไส้เคลื่อนไหวน้อย อาการปวด อาการคลื่นไส้ อาเจียน รวมไปถึงอารมณ์ความรู้สึก เช่น ความเครียด วิตกกังวล หรือซึมเศร้า ก็ทำให้รับประทานได้น้อยเช่นกัน
ดูรายละเอียดการสังเกตอาการแสดงที่อาจบ่งชี้ถึงการได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วนไม่ว่าจะเป็นอาหารผู้สูงอายุ หรือของผู้ป่วยตั้งแต่เริ่มแรกจึงมีความจำเป็น เพื่อที่รักษาได้อย่างรวดเร็ว และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นตามมาจากภาวะทุพโภชนาการ
ดูรายละเอียดเรียนรู้...วิธีปฏิบัติกับผู้ป่วยอย่างถูกวิธี
ดูรายละเอียดหากต้องการเพิ่มพลังงานในอาหารปกติ แนะนำให้เพิ่มปริมาณน้ำมันที่ใช้ประกอบอาหาร เนื่องจากน้ำมันให้พลังงานสูง เช่น การเติมกระเทียมเจียว เลือกเมนูทอดหรือผัด เช่น ไข่เจียว เป็นต้น
ดูรายละเอียดอาหารทางการแพทย์ มีบทบาทสำคัญในการเสริมสร้างโภชนาการที่ดี เพราะมีสารอาหารครบทั้ง 5 หมู่
ดูรายละเอียดอาหารทางการแพทย์ เป็นอาหารที่มีสารอาหารครบถ้วน มีบทบาทสำคัญในการเสริมสร้างโภชนาการที่ดี เพื่อให้ได้รับพลังงาน และสารอาหารอย่างเหมาะสม
ดูรายละเอียด