สมัครสมาชิก
Otsuka Official Store
Otsuka Official Store

ห้องสมุด

อัปเดต 12/01/2567

จริงไหม เป็นมะเร็งห้ามกินโปรตีน

โรคมะเร็ง

คนเราต้องการโปรตีนเพื่อการเจริญเติบโตซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอและให้ระบบภูมิคุ้มกันแข็งแรง เมื่อร่างกายของคุณได้รับโปรตีนไม่เพียงพอ ก็อาจจะมีการสลายกล้ามเนื้อเพื่อนำมาใช้เป็นพลังงานยามจำเป็น ซึ่งส่งผลให้ต้องใช้เวลานานกว่าที่ร่างกายจะฟื้นตัวจากอาการป่วยและทำให้ร่างกายต้านทานการติดเชื้อได้น้อยลง ปรับอาหารเอง งดเนื้อสัตว์

ดูรายละเอียด
อัปเดต 09/11/2566

มะเร็ง ผอมไปไม่ดีนะ

โรคมะเร็ง

การศึกษาทั่วโลกหลายๆการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ผู้ป่วยมะเร็งประมาณ 20-70% มีภาวะทุพโภชนาการและผู้ป่วยมะเร็ง 10-20% เสียชีวิตจากผลของภาวะทุพโภชนาการ

ดูรายละเอียด
อัปเดตr 19/04/2565

4 ขั้นตอน กระบวนการรักษามะเร็งด้วยรังสี

โรคมะเร็ง

เมื่อแพทย์ตัดสินใจใช้รังสีรักษา ในผู้ป่วยที่ทราบผลชิ้นเนื้อและระยะของโรคแล้ว แพทย์จะมีการพูดคุย วางแผนกับผู้ป่วยและญาติ ถึงขั้นตอนกระบวนการฉายรังสี

ดูรายละเอียด
อัปเดตr 30/03/2565

เลือกกินอะไรดี…เมื่อมีภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบ

โรคมะเร็ง

อาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ เกิดขึ้นได้ในผู้ป่วยที่รักษาด้วยเคมีบำบัดหรือการฉายแสง มักมีอาการปากแห้ง ช่องปากบวมแดง เกิดแผลในช่องปาก แสบร้อน และมีการรับรสที่เปลี่ยนแปลงไป อาจส่งผลต่อการรับประทานอาหารได้

ดูรายละเอียด
อัปเดตr 08/10/2564

ภาวะทุพโภชนาการ ภัยเงียบที่ต้องระวัง !

สุขภาพทั่วไป โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคไต โรคตับ

ในภาวะเจ็บป่วย ร่างกายจะหลั่งสารอักเสบ ซึ่งส่งผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้เบื่ออาหาร อีกทั้งมีปัจจัยร่วมอื่นๆที่ทำให้ผู้ป่วยรับประทานได้น้อยลง เช่น การรับกลิ่นหรือรสผิดปกติ กระเพาะและลำไส้เคลื่อนไหวน้อย อาการปวด อาการคลื่นไส้ อาเจียน รวมไปถึงอารมณ์ความรู้สึก เช่น ความเครียด วิตกกังวล หรือซึมเศร้า ก็ทำให้รับประทานได้น้อยเช่นกัน

ดูรายละเอียด
อัปเดตr 01/09/2564

เทคนิคง่ายๆ เพิ่มพลังงานในอาหารอย่างไรให้เพียงพอ

สุขภาพทั่วไป โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคไต โรคตับ

หากต้องการเพิ่มพลังงานในอาหารปกติ แนะนำให้เพิ่มปริมาณน้ำมันที่ใช้ประกอบอาหาร เนื่องจากน้ำมันให้พลังงานสูง เช่น การเติมกระเทียมเจียว เลือกเมนูทอดหรือผัด เช่น ไข่เจียว เป็นต้น

ดูรายละเอียด
อัปเดตr 12/07/2564

เทคนิคการรับมืออาการข้างเคียงจากโรคมะเร็ง (อาหารทางการแพทย์ สำหรับผู้ป่วยมะเร็ง)

โรคมะเร็ง

อาการข้างเคียงจากการรักษาโรคมะเร็งมีหลายประเภท โดยที่คำแนะนำด้านอาหารในการลดอาการข้างเคียงจากการรักษาโรคมะเร็งมีหลากหลายวิธี

ดูรายละเอียด
อัปเดตr 21/06/2564

อาหารทางการแพทย์ ควรดื่ม “เสริม” หรือ “ทดแทน” มื้ออาหารดีนะ ?

สุขภาพทั่วไป โรคมะเร็ง โรคไต โรคเบาหวาน

ในรายที่มีปัญหาทุพโภชนาการ เสี่ยงต่อการขาดสารอาหาร ไม่ว่าจะมีแนวโน้มของน้ำหนักตัวลดลง หรือรับประทานข้าวได้ไม่เพียงพอ แนะนำให้ดื่ม “เสริม” โดย 1 แก้ว ให้พลังงานประมาณ 250 กิโลแคลอรี และสำหรับผู้ที่มีปัญหาด้านการเคี้ยว การกลืน ไม่สามารถรับประทานอาหารเองได้ หรือผู้ที่ต้องใช้สายให้อาหาร ควรใช้อาหารทางการแพทย์ “ทดแทน” มื้ออาหารหลักในแต่ละมื้อ

ดูรายละเอียด